분야    
발행기관
간행물  
발행연도  
발행기관 : 한국태국학회 AND 간행물명 : 한국태국학회논총321 개 논문이 검색 되었습니다.
ศึกษาลักษณะร่วมทางวัฒนธรรมไทย-เกาหลีจากลักษณนาม: กรณีศึกษาคำแปลคำเฉพาะทางวัฒนธรรม
เกวลินศรีม่วง ( Kewalin Simuang )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 221~252페이지(총32페이지)
คำเฉพาะทางวัฒนธรรมสะท้อนให้เห็นลักษณะวัฒนธรรมของประเทศที่ใช้ภาษา นั้น ๆ ตลอดจนเป็นปัจจัยที่ทำให้เข้าใจลักษณะร่วมทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทาง และภาษาปลายทางในการแปลด้วย บทความนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับคำเฉพาะทาง วัฒนธรรมหมวดลักษณนามภาษาเกาหลีและคำแปลในภาษาไทย โดยวิเคราะห์ รูปแบบการแปลลักษณนามภาษาเกาหลีเป็นภาษาไทยที่รวบรวมมาจากพจนานุกรม สำหรับชาวต่างชาติโดยสถาบันภาษาเกาหลีแห่งชาติจำนวนทั้งหมด 105 คำ จาก การศึกษาพบว่า พบว่าประเทศไทยและประเทศเกาหลีมีลักษณะ...
TAG คำเฉพาะทางวัฒนธรรม, ลักษณนาม, ลักษณะร่วมทางวัฒนธรรม, คำยืม, การทับศัพท์, culture-bound term, quantifying noun, cultural similarity, loan word, transliteration
태국 장편소설에 나타난 여성의식의 변모 양상 -1930-1980 년대 발표된 소설을 중심으로-
김영애 ( Kim Young-aih )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 41~89페이지(총49페이지)
คำเฉพาะทางวัฒนธรรมสะท้อนให้เห็นลักษณะวัฒนธรรมของประเทศที่ใช้ภาษา นั้น ๆ ตลอดจนเป็นปัจจัยที่ทำให้เข้าใจลักษณะร่วมทางวัฒนธรรมของภาษาต้นทาง และภาษาปลายทางในการแปลด้วย บทความนี้ มุ่งศึกษาเกี่ยวกับคำเฉพาะทาง วัฒนธรรมหมวดลักษณนามภาษาเกาหลีและคำแปลในภาษาไทย โดยวิเคราะห์ รูปแบบการแปลลักษณนามภาษาเกาหลีเป็นภาษาไทยที่รวบรวมมาจากพจนานุกรม สำหรับชาวต่างชาติโดยสถาบันภาษาเกาหลีแห่งชาติจำนวนทั้งหมด 105 คำ จาก การศึกษาพบว่า พบว่าประเทศไทยและประเทศเกาหลีมีลักษณะ...
TAG 여성, 어머니, 아내, , 여성인식의 변화, 근대소설, woman, mother, wife, daughter, consciousness as a woman, modern novel
การศึกษาเปรียบเทียบคำว่า 같다 ในภาษาเกาหลี กับคำว่า เหมือน ในภาษาไทย
( Cheon Hye-jin )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 253~300페이지(총48페이지)
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคำว่า katta ในภาษาเกาหลีกับ คำว่า เหมือน ในภาษาไทย โดยการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องและวิเคราะห์ตัวอย่าง ประโยคจากNational Institute of Korean Languageและคลังข้อมูลภาษาไทย แห่งชาติ ผลการศึกษาพบว่าทั้งสองภาษามีการใช้คำทั้งสองในลักษณะที่คล้ายคลึง กัน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3ลักษณะคือ ใช้ในการเปรียบเทียบ การอุปมาอุปไมย และ การคาดคะเน แต่ในภาษาไทย คำว่า เหมือน มิใช่มีเพียงคำกริยาเท่านั้น แต่ยังมี เหมือน ที...
TAG เหมือน, เปรียบเทียบ , อุปมาอุปไมย, คาดเดา, `kata`, `muen`, comparative, metaphorical, speculate
태국의 금기 연구
정환승 ( Jung Hwan-seung )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 1~40페이지(총40페이지)
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเปรียบเทียบคำว่า katta ในภาษาเกาหลีกับ คำว่า เหมือน ในภาษาไทย โดยการศึกษางานวิจัยที่เกี่ยวข้องและวิเคราะห์ตัวอย่าง ประโยคจากNational Institute of Korean Languageและคลังข้อมูลภาษาไทย แห่งชาติ ผลการศึกษาพบว่าทั้งสองภาษามีการใช้คำทั้งสองในลักษณะที่คล้ายคลึง กัน ซึ่งแบ่งออกได้เป็น 3ลักษณะคือ ใช้ในการเปรียบเทียบ การอุปมาอุปไมย และ การคาดคะเน แต่ในภาษาไทย คำว่า เหมือน มิใช่มีเพียงคำกริยาเท่านั้น แต่ยังมี เหมือน ที...
TAG 태국의 금기, 태국의 사회와 문화, 태국의 종교와 신앙, 태국의 토속신앙, 태국인의 삶, taboos of Thailand, society and culture of Thailand, Religion and faith of Thais, Indigenous beliefs of Thailand, life of a Thai
ภาษาหาเสียง: วัจนลีลาภาษาการเมืองในโปสเตอร์หาเสียง ของไทย
จันทิมาอังคพณิชกิจ ( Jantima Angkapanichkit )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 301~338페이지(총38페이지)
ภาษาหาเสียงจัดเป็นวัจนลีลาหนึ่งของภาษาการเมืองที่นักการเมืองใช้เป็น เครื่องมือสื่อสารในการรณรงค์เลือกตั้ง งานวิจัยเกี่ยวกับภาษาหาเสียงของไทยที่ผ่าน มาโดยส่วนใหญ่ มักมุ่งเน้นที่การศึกษาคำขวัญ แต่การศึกษาวิจัยภาษาหาเสียงจาก โปสเตอร์หาเสียงนั้นยังพบไม่มากนัก จากการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของ ไทย พบว่าโปสเตอร์หาเสียงเป็นสื่อหนึ่งที่พบเห็นได้ทั่วไปในที่สาธารณะและใช้ รณรงค์กันอย่างกว้างขวาง และดูเหมือนจะเป็นส่วนสำคัญของวาทกรรมการเมือง บทความนี้...
TAG ภาษาหาเสียง โปสเตอร์หาเสียง วัจนลีลา การเมืองไทย, political campaign language, poster, style, Thai politics
การศึกษาแนวทางเพื่อเตรียมจัดทำหลักสูตร ร่วมสถาบัน 2+2 : หลักสูตรสองปริญญานานาชาติ ระหว่างภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยปูซานภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี และมหาวิทยาลัยปูซานภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี
โกวิทย์พิมพวง ( Kowit Pimpuang )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제22권 제2호, 117~135페이지(총19페이지)
งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาแนวทางเพื่อเตรียมจัดทำหลักสูตรร่วมสถาบัน 2+2 : หลักสูตรสองปริญญานานาชาติ ระหว่างภาควิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์และมหาวิทยาลัยปูซานภาษาและกิจการต่างประเทศ สาธารณรัฐเกาหลี การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาข้อมูลหลักสูตรปริญญาตรีสาขาวิชาภาษาไทยของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์เปรียบเทียบกับหลักสูตรสาขาวิชาภาษาไทยของ มหาวิทยาลัยปูซานภาษาและกิจการต่างประเทศ และ 2) เพื่อศึกษาวิเคราะห์จุดแข็ง-จุดอ่อนของหลักสูตรทั้งส...
TAG Joint-Program, International Dual Degree, Dept. of Thai, Republic of Korea, หลักสูตรร่วมสถาบัน, สองปริญญานานาชาติ, ภาควิชาภาษาไทย, สาธารณรัฐ-, เกาหลี
ระบำว่าววงเดือน: การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์พื้นเมือง จากข้อมูลวัฒนธรรมมลายูปาตานี
เจษฎาเนตรพลับ ( Jetsada Netplab ) , วีรชาติเปรมานนท์ ( Weerachat Premananda )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제22권 제2호, 91~114페이지(총24페이지)
ระบำว่าววงเดือน เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์ที่นำข้อมูลศิลปวัฒนธรรมและนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีมาใช้ในการออกแบบสร้างสรรค์ โดยตั้งประเด็นคำถามในการวิจัยถึงเอกลักษณ์ของนาฏยศิลป์พื้นเมืองมาลายูปาตานีดั้งเดิมมีลักษณะอย่างไร และควรมีแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานอย่างไร ผลจากการวิจัยสร้างสรรค์ทำให้ได้ผลงานนาฏยศิลป์และแนวทางในการออกแบบนาฏยศิลป์พื้นเมืองที่ให้ความสำคัญกับข้อมูลวัฒนธรรมเรื่อง "ว่าววงเดือน" ของชาวมลายูปาตานี เครื่องมือที่...
TAG The Creative Dance, Dance of Malay Patani, Choreography, การสร้างสรรค์นาฏยศิลป์, นาฏยศิลป์ พืน เมือง, นาฏยศิลป์ พืน เมืองมลายูปาตานี
ความเป็นไทยและความทรงจำร่วมของชาติ ในพิพิธภัณฑ์สถานแห่งชาติพระนครและมิวเซียมสยาม
แชมุนลี ( Lee Chae-moon )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제22권 제2호, 161~186페이지(총26페이지)
ระบำว่าววงเดือน เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์ที่นำข้อมูลศิลปวัฒนธรรมและนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีมาใช้ในการออกแบบสร้างสรรค์ โดยตั้งประเด็นคำถามในการวิจัยถึงเอกลักษณ์ของนาฏยศิลป์พื้นเมืองมาลายูปาตานีดั้งเดิมมีลักษณะอย่างไร และควรมีแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานอย่างไร ผลจากการวิจัยสร้างสรรค์ทำให้ได้ผลงานนาฏยศิลป์และแนวทางในการออกแบบนาฏยศิลป์พื้นเมืองที่ให้ความสำคัญกับข้อมูลวัฒนธรรมเรื่อง "ว่าววงเดือน" ของชาวมลายูปาตานี เครื่องมือที่...
TAG National Museum in Bangkok, Museum of Siam, Thainess, Cultural politics
태국어의 슬로건 언어 분석
정환승 ( Jung Hwan-seung )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제22권 제2호, 25~55페이지(총31페이지)
ระบำว่าววงเดือน เป็นการวิจัยสร้างสรรค์ทางด้านนาฏยศิลป์ที่นำข้อมูลศิลปวัฒนธรรมและนาฏยศิลป์พื้นเมืองมลายูปาตานีมาใช้ในการออกแบบสร้างสรรค์ โดยตั้งประเด็นคำถามในการวิจัยถึงเอกลักษณ์ของนาฏยศิลป์พื้นเมืองมาลายูปาตานีดั้งเดิมมีลักษณะอย่างไร และควรมีแนวคิดในการออกแบบสร้างสรรค์ผลงานอย่างไร ผลจากการวิจัยสร้างสรรค์ทำให้ได้ผลงานนาฏยศิลป์และแนวทางในการออกแบบนาฏยศิลป์พื้นเมืองที่ให้ความสำคัญกับข้อมูลวัฒนธรรมเรื่อง "ว่าววงเดือน" ของชาวมลายูปาตานี เครื่องมือที่...
TAG slogan, motto, rhythm, language performance, Thai language, education, the characteristics of the Thai language
การเปลียนแปลงบทบาทและคุณค่าของประตูป่าจากอดีต ถึงปัจจุบัน: กรณีศึกษาบ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่ าครัง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่
วาทินีศิริชัย ( Watinee Sirichai )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제22권 제2호, 137~159페이지(총23페이지)
การศึกษาการเปลี่ยนแปลงบทบาทและคุณค่าของประตูป่าจากอดีตถึงปัจจุบัน: กรณีศึกษาบ้านบวกครกน้อย ตำบลหนองป่าครั่ง อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ โดยมี วัตถุประสงค์หลักดังนี้ เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าที่ของประตูป่า และ เพื่อศึกษา คุณค่าของประตูป่า จากผลวิจัยพบว่าการเปลี่ยนแปลงบทบาทหน้าทีของประตูป่า เห็นได้ว่า ประตูป่าจะทำขึ้น เฉพาะในประเพณียี่เป็ง ในขณะที่บทบาทอื่น ๆ จะเน้นความสำคัญของ ธรรมชาติ ในส่วนคุณค่าของประตูป่ามีคุณค่าที เป็นรูปธรรมและน...
TAG Pratu Pa, Change in roles and value of Pratu Pa, Chianmai, Yipeng Festival, ประตูป่า, การเปลียนแปลงบทบาทและคุณค่าของประตูป่า, เชียงใหม่, ประเพณียี เป็ง
 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10