분야    
발행기관
간행물  
발행연도  
발행기관 : 한국태국학회 AND 간행물명 : 한국태국학회논총321 개 논문이 검색 되었습니다.
AEC 내 태국의 산업 정책과 기업 진출 - 생산·물류 허브를 꿈꾸는 태국
이요한 ( Lee Yo-han )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 131~167페이지(총37페이지)
2015년 출범한 아세안경제공동체(AEC)는 태국을 비롯한 ASEAN 회원국에게 기회와 도전이라는 양면성을 부여한다. 태국은 ASEAN 경제발전 단계와 지정학적 위상을 볼 때 선발 ASEAN국과 후발 ASEAN국의 연결고리의 역할이 가능하며 인프라가 취약한 대륙부의 동남아 연계성(Connectivity)을 주도하는데 유리한 입장에 있다. 본 연구는 ASEAN 경제통합 가속화에 따른 태국의 산업적 포지셔닝 즉 태국이 아세안 경제통합에 따른 이익의 극대화를 추진하고 있는 경제 및 산업정책을 고찰하고자 한다. 또한 태국 정치의 불안정과 이에 따른 경제와 사회문화적 변화 요인을 분석하고자 한다.
TAG 태국, 아세안경제공동체, 연계성, 한국 기업, 사회문화적 변화, Thailand, ASEAN Economic Community, connectivity, Korean firms, socio-cultural change
การแปรของวรรณยุกต์ภาษาพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี
ศุภกิตบัวขาว ( Supakit Buakaw )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 296~314페이지(총19페이지)
บทความนี้เป็นการศึกษาทางภาษาศาสตร์สังคม ศึกษาการแปรของวรรณยุกต์ของภาษาพวน ที่พูดอยู่ในอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เก็บข้อมูลจากผู้บอกภาษา 3 ช่วงกลุ่มอายุ คือ วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) วัยกลางคน (อายุ 35-45 ปี) และวัยหนุ่มสาว (อายุ 15-25 ปี) การวิเคราะห์ระบบวรรณยุกต์ในงานวิจัยนี้ใช้แนวคิดกล่องทดสอบวรรณยุกต์ของ Gedney (1972) และใช้วิธีทางกลสัทศาสตร์ในการวิเคราะห์สัทลักษณะของวรรณยุกต์ ผลการศึกษา พบว่า ภาษาพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ...
TAG ภาษาศาสตร์สังคม การแปรของวรรณยุกต์ ภาษาตระกูลไท ภาษาถิ่น ภาษาพวน, Sociolinguistics, Tonal variation, Tai languages, Dialects, Phuan
태국내일본 대중문화: 현주소와 시사점
이미지 ( Lee Mi-ji )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 169~204페이지(총36페이지)
บทความนี้เป็นการศึกษาทางภาษาศาสตร์สังคม ศึกษาการแปรของวรรณยุกต์ของภาษาพวน ที่พูดอยู่ในอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เก็บข้อมูลจากผู้บอกภาษา 3 ช่วงกลุ่มอายุ คือ วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) วัยกลางคน (อายุ 35-45 ปี) และวัยหนุ่มสาว (อายุ 15-25 ปี) การวิเคราะห์ระบบวรรณยุกต์ในงานวิจัยนี้ใช้แนวคิดกล่องทดสอบวรรณยุกต์ของ Gedney (1972) และใช้วิธีทางกลสัทศาสตร์ในการวิเคราะห์สัทลักษณะของวรรณยุกต์ ผลการศึกษา พบว่า ภาษาพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ...
TAG 태국, 일본, 대중문화, 방송컨텐츠, 자발적 현지화, Thailand, Japan, Popular Culture, Broadcast Contents, voluntary localization
한국어와 태국어의 거절화행 비교연구
윤경원 ( Yoon Kyung-won )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 1~30페이지(총30페이지)
บทความนี้เป็นการศึกษาทางภาษาศาสตร์สังคม ศึกษาการแปรของวรรณยุกต์ของภาษาพวน ที่พูดอยู่ในอำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี เก็บข้อมูลจากผู้บอกภาษา 3 ช่วงกลุ่มอายุ คือ วัยสูงอายุ (อายุ 60 ปี ขึ้นไป) วัยกลางคน (อายุ 35-45 ปี) และวัยหนุ่มสาว (อายุ 15-25 ปี) การวิเคราะห์ระบบวรรณยุกต์ในงานวิจัยนี้ใช้แนวคิดกล่องทดสอบวรรณยุกต์ของ Gedney (1972) และใช้วิธีทางกลสัทศาสตร์ในการวิเคราะห์สัทลักษณะของวรรณยุกต์ ผลการศึกษา พบว่า ภาษาพวน อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี ...
TAG refusal, speech acts, direct refusal, indirect refusal, strategies, face
การศึกษาข้อผิดพลาดในงานเขียนภาษาเกาหลีแบบพรรณนาของ นักศึกษามหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และแนวทางการพัฒนา
จิราพรจันจุฬา ( Jiraporn Janjula )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 235~264페이지(총30페이지)
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อผิดพลาดในงานเขียนแบบพรรณนาของ นักศึกษาที่เรียนรายวิชา 893-471 ภาษาเกาหลีเพื่อการสื่อสาร 3 คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่ ปีการศึกษา 2553 โดยศึกษาและวิเคราะห์ จากงานเขียน 2 เรื่องของนักศึกษาว่ามีข้อผิดพลาดด้านใดบ้าง และหาสาเหตุของข้อผิดพลาด พร้อมทั้งเสนอแนวทางเพื่อการพัฒนาการสอนด้านการเขียนภาษาเกาหลี ผลการวิจัยพบว่า 1. ข้อผิดพลาดที่พบในงานเขียนภาษาเกาหลีนั้นสามารถแบ่งกว้างๆ ...
TAG ข้อผิดพลาด, ภาษาเกาหลี, การสอนภาษาเกาหลี, ภาษาเกาหลีในฐานะภาษาต่างประเทศ, การเขียนภาษาเกาหลีแบบพรรณนา, Error, Korean Language, Korean Language Teaching, Korean as a Foreign Language, Korean Descriptive Writing
태국어 신체어휘 /naa/와 /lang/의 문법화와 교육에서의 시사점
박경은 ( Park Kyung-eun )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2017] 제23권 제2호, 31~55페이지(총25페이지)
다기능 다의어가 발달한 태국어에서 다양한 양상의 문법화가 포착되고 있음에도 불구하고 태국에서 문법화라는 언어 현상을 본격적으로 연구하기 시작한 역사는 오래지 않다. 특히 광범위한 문법화의 양상을 보여주는 기본 어휘들 중 신체어휘의 의미 확장 양상과 문법화를 연구하는 것은 태국어 화자의 인지 체계를 엿볼 수 있는 중요한 언어적 단서가 된다. 이 연구에서는 태국어 신체 어휘 중 높은 빈도를 보이는 두 어휘, /naa/(‘face’)와 /lang/(‘back’)이 원형의미에서 공간적 의미로 확대되고, 이를 넘어 전치사와 시간적 의미로 그 의미와 기능이 변화하는 광범위한 문법화의 양상과 그 문법화를 일으키는 인지적 기제(cognitive mechanism)에 관하여 분석하는 것을 일차적 목표로 하며, 이를 바탕으로 외국어로서 태국어를 교육함에 있어, 이러한 문법화...
TAG 신체어휘, 문법화, 얼굴, , 외국어로서의 태국어교육, Body part terms, grammaticalization, face, back, Teaching Thai, as a Foreign Language
การสร้างตัวบทสงครามในวรรณกรรมอิงพงศาวดารจีน เรื่องเลียดก๊ก
บาหยันอิ่มสำราญ ( Bayan Imsamran )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 169~201페이지(총33페이지)
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะศึกษาการสร้างตัวบทสงครามในวรรณกรรม พงศาวดารจีนเรื่องเลียดก๊ก ซึ่งเป็นวรรณกรรมร้อยแก้วขนาดยาว ที่มีเนื้อหา เกี่ยวกับการทำสงครามในอาณาจักรจีนราว 2,000 ปีล่วงมาแล้ว และชนชั้นนำไทย นำมาถ่ายทอดเป็นภาษาไทยในสมัยรัชกาลที่ 2 โดยใช้กรอบความคิดเรื่องตัวบท เรื่องเล่า และวัจนกรรม เพื่อค้นหาแบบแผนการสร้างตัวบท และช่วยคลี่คลายความ ซับซ้อนของเรื่องเล่าร้อยแก้วขนาดยาวในสมัยต้นรัตนโกสินทร์ ผลการวิจัยสรุปได้ว่า วรรณกรรมเรื่องเลียดก๊ก ...
TAG ตัวบท, เรื่องเล่า, วรรณกรรมพงศาวดารจีน, เลียดก๊ก, วัจนกรรม, text, narration, Chinese chronicle literature, Liad Kok, speech act
อดีต ปัจจุบัน และอนาคต ศตวรรษที่ 21 การเรียนการสอนภาษาไทยกับวัฒนธรรมไทย ในฐานะภาษาต่างประเทศ
จินตนาพุทธเมตะ ( Jintana Puttamata )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 203~219페이지(총17페이지)
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ นั้น นอกจากจะมีการเรียนการ สอนทักษะต่างๆ คือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และ การดู แล้ว การสอน วัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย วิถีชีวิตไทยให้แก่ชาวต่างชาติก็มีความสำคัญยิ่ง เพราะ ความเข้าใจเรื่องเหล่านี้จะทำให้ชาวต่างประเทศ เข้าใจความเป็นไทยมากขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถดำเนินชีวิตในประเทศไทย หรือทำงานร่วมกับคนไทยได้อย่างมีความสุข โดยไม่มีช่องว่างระหว่างความเป็นชาวต่างประเทศและความเป็นไทย การสอนภาษาและวัฒนธรรมตั้ง...
TAG การเรียนการสอน, ภาษาไทยกับวัฒนธรรมไทย, อดีต ปัจจุบัน อนาคต ศตวรรษ 21, ชาวต่างประเทศ, Learning and teaching, Thai language and Thai culture, Past, Presnet and Future in 21th Century, Foreigners
태국의 카렌족 정책 연구: 킴리카의 이론을 중심으로
이정윤 ( Lee Jeong-yoon )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 137~167페이지(총31페이지)
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ นั้น นอกจากจะมีการเรียนการ สอนทักษะต่างๆ คือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และ การดู แล้ว การสอน วัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย วิถีชีวิตไทยให้แก่ชาวต่างชาติก็มีความสำคัญยิ่ง เพราะ ความเข้าใจเรื่องเหล่านี้จะทำให้ชาวต่างประเทศ เข้าใจความเป็นไทยมากขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถดำเนินชีวิตในประเทศไทย หรือทำงานร่วมกับคนไทยได้อย่างมีความสุข โดยไม่มีช่องว่างระหว่างความเป็นชาวต่างประเทศและความเป็นไทย การสอนภาษาและวัฒนธรรมตั้ง...
TAG Karen Policy, Liberal Multiculturalism, Will Kymlicka, Indigenous people, Thailand, Ethnic minorities
태국의 분쟁해결 및 협상전략: Hofstede의 비교문화 경영이론을 중심으로
정용균 ( Chung Yong-kyun )  한국태국학회, 한국태국학회논총 [2016] 제23권 제1호, 91~136페이지(총46페이지)
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ นั้น นอกจากจะมีการเรียนการ สอนทักษะต่างๆ คือ การฟัง การพูด การอ่าน การเขียน และ การดู แล้ว การสอน วัฒนธรรมไทย ประเพณีไทย วิถีชีวิตไทยให้แก่ชาวต่างชาติก็มีความสำคัญยิ่ง เพราะ ความเข้าใจเรื่องเหล่านี้จะทำให้ชาวต่างประเทศ เข้าใจความเป็นไทยมากขึ้น อีกทั้ง ยังสามารถดำเนินชีวิตในประเทศไทย หรือทำงานร่วมกับคนไทยได้อย่างมีความสุข โดยไม่มีช่องว่างระหว่างความเป็นชาวต่างประเทศและความเป็นไทย การสอนภาษาและวัฒนธรรมตั้ง...
TAG Dispute resolution, Negotiation strategy, Thailand, Crosscultural management
 1  2  3  4  5  6  7  8  9  10